March 07, 2019 19:20

อาตมา พระปรีชา อายุ34 วัดสิริกมลาวาส ได้ตรวจสุขภาพครั้งแรกที่คลีนิคศูนย์แพทย์พัฒนา วันที่5กพ62 ค่าเลือด Fps 98 bun 19 Uric 10.3 Cholesterol 377 Trigly 140 HDL 66 LDL 317 Creatinine 1.58 eGFR 56.63 mg/dl คุณหมอได้จ่ายยาลดกรดยูริค PURIDE 300MGกินหลังอาหารเช้า1เม็ด และยาลดไขมันในเส้นเลือด ATORVASTATIN 20 MG กินก่อนนอน1เม็ด อาตมาได้กินเป็นเวลา1เดือน แล้วอาตมาได้ลองไปตรวจเลือดซ้ำที่แลปปิดแถววัด วันที่6มีนาคม2562 อยู่แถวลาดพร้าววังหิน อาตมาอยู่วัดสิริกมลาวาส ได้ผลเลือด Fps 94 BUN 18.0 Creatinine 1.29 eGFR 71.35 Uric Acid 4.6 cholesterol 174 triglyceride 94 HDL 39 LDL 116 คุณหมอที่ศูนย์แพทย์ให้ยา อาตมามาอย่างละ100 เม็ด แล้วนัดตรวจอีกรอบ3เดือน แต่เนื่องด้วยอาตมาได้ไปตรวจก่อนหลังจากตรวจครั้งแรก1เดือน ค่าที่ตรวจรอบสอง เชื่อถือได้หรือไม่เพราะมันลดลงเยอะมาก แล้วถ้ากรดยูริค ระดับนี้แล้ว อาตมาสามารถ หยุดยาได้หรือไม่ อาตมาไม่เคยปวดข้อหรือบวม มาก่อน หรืออาตมาควรจะขอพบแพทย์ที่รักษาอาตมา ก่อนวันนัดได้หรือไม่ ขอรบกวนคุณหมอด้วยนะครับ หรืออาตมา ควรจะฉันยาไปจนครบ3เดือนแล้วค่อยมาพบแพทย์ เนืองจากอาตมา กังวลเรื่องโรคไต มากๆ ขอเจริญพร

ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรคหรือการรักษา คุณควรพบแพทย์เพื่อรับการตรวจหากมีอาการน่ากังวล)

ดูคำถามและคำตอบอื่นที่คล้ายกัน
อาหารเผื่อสุขภาพ ลดอาการจากโรคเก๋า
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
ผู้หญิงสามารถที่จะเป็นโรคเกาส์ได้ไหมค่ะ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
วิธีการดูแลตัวเองที่ถูกต้องของคนที่ป่วยเป็นโรคเก๊าต้องทำอย่างไรคะ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
อยากถามว่าโรคเก๊ามีวิธีรักษายังไงค่ะ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
เจ็บขาเวลาทานพวกเป็ดไก่ติดต่อกันเสี่ยงเป็นเก๊าไหมครับ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
อยากถามเกี่ยวกับมีวิธีป้องกันหรือลดค่ากรดยูลิกสูงในร่างกายเรา อย่างไรบ้างครับ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)