September 17, 2017 10:56

คุณตาดิฉันอายุ 96 ปีแล้วค่ะ ปวดเก๊าท์มานานหลายปีตั้งแต่ยังหนุ่ม ตอนสมัยหนุ่มท่านจะซื้อยากินเองตามร้านขายยา มาพบหมอช่วงหลังๆนี้แล้วค่ะ ก็ให้หมอดูยาที่กินประจำ หมอบอกว่ายาตัวนี้มีฤทธิ์ กดประสาท ทำให้หายจากอาการปวด แต่ไม่ได้ทำให้กรดยูริกลดลงเลย ตอนนี้มีโรคไตตามมา ระยะที่ 4 หมอก็ไม่ได้แนะนำให้ฟอก หมอให้ยาคลายกล้ามเนื้อ แต่ไม่ได้ให้ยาเก๊าท์ หมอบอกว่ายิ่งไปทำลายไตเพราะไตเสื่อมมากแล้ว แนะนำงดอาหารบางชนิด และให้ดื่มน้ำมากๆๆ อันนี้ไปหาโรงพยาบาลจังหวัด ช่วงหลังท่านมีความดันสูง เวียนหัวบ่อย วัดได้ 160 ขึ้นไป จึงไปโรงพยาบาลอำเภอใกล้บ้าน หมอก็ถามประวัติ อาการโรคอื่นๆ หมอก็ให้ยาโรคเก๊าท์มาด้วยหมอบอกยาตัวนี้ต้องกินตลอดชีวิต (อยากทราบว่าตกลงควรกินดีไหม ไป รพ.จังหวัด หมอไม่แนะนำมีผลต่อไตมากขึ้น พอไป รพ.อำเภอ หมอแนะนำให้กิน) ปัจจุบันยังมีอาการปวด ไตก็เริ่มทรุด ขอคำแนะนำหน่อยค่ะควรปฏิบัติอย่างไรดี

ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรคหรือการรักษา คุณควรพบแพทย์เพื่อรับการตรวจหากมีอาการน่ากังวล)

ดูคำถามและคำตอบอื่นที่คล้ายกัน
เก๊าท์ ที่ปูนตามข้อ สามารถผ่าตัดได้ไหมค่ะ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
เวลาเดินมีเสียงที่หัวเข่าเกิดจากอะไรครับ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
ระดับยูริคในร่างกายเท่าใดถึงจะจัดว่าเป็นโรคเก๊าท์
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
อยากทราบว่า โรคเก๊ามีโอกาสจะหายขาดมั้ยค่ะ หรือต้องทานยาตลอดชีวิต และอาหารที่ต้องห้ามจริงๆมีอะไรบ้าง ขอบคุณค่ะ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
อยากทราบว่าผู้ป่วยโรคเก๊า ซื้อยาจากร้านขายยามารับประทานเอง โดยที่ไม่ไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาลเลย เมื่อถึงเวลาที่โรคมีความรุนแรงขึ้น จะส่งผลเสียต่อร่างกายอย่างไร
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
โรคเก๊าท์สาเหตุมาจากอะไรค่ะ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)