อ้อยแดง

เผยแพร่ครั้งแรก 28 มี.ค. 2017 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
อ้อยแดง

ชื่อท้องถิ่น : อ้อยดำ , อ้อยขม

ลักษณะของพืช
อ้อยแดงเป็นไม้ล้มลุก รูปร่างคล้ายต้นอ้อนแต่มีลำต้นสีแดงคล้ำ

ส่วนที่ใช้เป็นยา : ลำต้นทั้งสดหรือแห้ง

ช่วงเวลาที่เก็บเป็นยา : เก็บลำต้นที่สมบูรณ์เต็มที่

รสและสรรพคุณยาไทย : รสหวานและขม แก้ปัสสาวะพิการ แก้ขัดเบา

วิธีใช้
ลำต้นอ้อยแดงทั้งสดหรือแห้งใช้เป็นยาแก้อาการขัดเบา โดยใช้ลำต้นสดวันละ 1 กำมือ (สดหนัก 70 – 90 กรัม , แห้งหนัก 30 – 40 กรัม) หั่นเป็นชิ้นๆ ต้มกับน้ำรับประทานวันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร ครั้งละ 1 ถ้วยชา (75 มิลลิลิตร)


1 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
อ้อยแดง. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ผลิตเภสัชกรคุณภาพสู่สังคมไทย. (https://www.pharmacy.mahidol.ac.th/siri/index.php?page=search_detail&medicinal_id=564)

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)