กองบรรณาธิการ HonestDocs
เขียนโดย
กองบรรณาธิการ HonestDocs
นพ.วรพันธ์ พุทธศักดา
ตรวจสอบความถูกต้องโดย
นพ.วรพันธ์ พุทธศักดา

นิ่วทอนซิล (Tonsillolith / Tonsil Stone)

เผยแพร่ครั้งแรก 19 ม.ค. 2018 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 ตรวจสอบความถูกต้อง 22 เม.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที

เรื่องควรรู้

ขยาย

ปิด

  • นิ่วทอนซิล (Tonsillolith หรือ Tonsil Stone) มีลักษณะเป็นก้อนเล็กๆ สีเหลืองอ่อนจนถึงสีเทาคล้ำและมีกลิ่นเหม็นรุนแรง มักอยู่บริเวณต่อมทอนซิลข้างใดข้างหนึ่ง หรือทั้ง 2 ข้างพร้อมกัน เป็นความผิดปกติที่สามารถเกิดขึ้นได้กับคนทุกเพศ ทุกวัย
  • อาการของผู้ป่วยนิ่วทอนซิลที่เห็นได้ชัด เช่น มีกลิ่นปากรุนแรง เจ็บคอ กลืนน้ำลาย หรืออาหารลำบาก ไอเรื้อรัง รู้สึกปวด หรือเจ็บไปถึงหู  เมื่ออ้าปากแล้วส่องกระจก จะสามารถมองเห็นก้อนสีขาวอมเหลืองได้ชัดเจน
  • ก้อนนิ่วทอนซิลเกิดขึ้นได้จากการสะสมของแบคทีเรียที่ไม่ต้องการอากาศกับการหมักหมมของเศษอาหาร ซากแบคทีเรีย ก้อนเกลือแร่ น้ำลาย และสารคัดหลั่งในโพรงหลังจมูกจากโรคบางชนิด เช่น ไซนัส ต่อมทอนซิลอักเสบ
  • วิธีรักษานิ่วทอนซิลสามารถทำได้ด้วยตนเอง เช่น การกลั้วคอแรงๆ ด้วยน้ำเปล่า หรือน้ำเกลือ การจามแรงๆ หรือขากเสมหะแรงๆ การใช้นิ้วนวดบริเวณภายนอกที่ตรงกับต่อมทอนซิล โดยจะอยู่บริเวณใต้คาง ตรงมุมขากรรไกรล่าง
  • เราสามารถป้องกันการเกิดนิ่วทอนซิลได้ด้วยการดื่มน้ำให้เพียงพอ การรักษาฟันและช่องปากให้สะอาด และหมั่นพบทันตแพทย์อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง (ดูแพ็กเกจตรวจสุขภาพฟันได้ที่นี่)  

กลิ่นปากเป็นปัญหาที่สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคนซึ่งยังมีคนจำนวนมากที่ไม่สามารถแก้ปัญหานี้ได้ แม้ว่าจะแปรงฟัน หรือใช้น้ำยาบ้วนปากสารพัดยี่ห้อแล้วก็ตาม เพราะสาเหตุที่แท้จริงของกลิ่นปากในใครหลายคน อาจเกิดมาจาก "นิ่วทอนซิล" ก็เป็นได้

นิ่วทอนซิลคืออะไร

นิ่วทอนซิล (Tonsillolith หรือ Tonsil Stone) มีลักษณะเป็นก้อนเล็กๆ สีเหลืองอ่อนจนถึงสีเทาคล้ำและมีกลิ่นเหม็นรุนแรง มักอยู่บริเวณต่อมทอนซิลข้างใดข้างหนึ่ง หรือทั้ง 2 ข้างพร้อมกัน 

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ปรึกษาเภสัช สั่งยา ฟรีค่าส่งทั่วประเทศ*

แชทกับเภสัชกรฟรี! 9 โมงเช้าถึงเที่ยงคืน พร้อมรับส่วนลดค่ายา 5% HDmall ออกค่าส่งให้สูงสุด 40 บาท

นิ้วทอนซิลอาจมี


9 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
WebMD, Tonsil Stones (Tonsilloliths): Symptoms, Causes, Treatment, and Prevention (https://www.webmd.com/oral-health/guide/tonsil-stones-tonsilloliths-treatment-and-prevention#1), 2 April 2020.
Medical News Today, Tonsil stones: Causes, symptoms, and treatment (https://www.medicalnewstoday.com/articles/315026), 2 April 2020.
Oda M, et al. (2013), Prevalence and imaging characteristics of detectable tonsilloliths on 482 pairs of consecutive CT and panoramic radiographs. DOI: (https://doi.org/10.1186/1472-6831-13-54), 4 April 2020.

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

ดูคำถามและคำตอบอื่นๆ ที่เกี่ยวกับอาการนี้
มีปัญหานิ่วทอนซิลมาหลายปีอยากรักษาแบบให้หายขายโดยการผ่าตัดได้มั้ยค่ะ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)