การรักษาแบบดนตรีบำบัด สามารถช่วยลดอาการภูมิแพ้ได้

เผยแพร่ครั้งแรก 28 มี.ค. 2017 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 2 นาที
การรักษาแบบดนตรีบำบัด สามารถช่วยลดอาการภูมิแพ้ได้

หลักการของดนตรีบำบัด

a3.gif

 จังหวะและทำนองของดนตรี ที่ส่งไปยังสมอง ผ่านทางระบบประสาท สามารถเปลี่ยนคลื่นสมองได้ มีการหลั่งสารต่าง ๆ ออมา ทำให้การไหลเวียนของโลหิตภายในร่างกายเร็วขึ้นหรือช้าลงได้ เสียงอันเกิดจากการบรรเลงดนตรี มีการสั่นสะเทือนจากผิหนัง เข้าสู่เส้นพลังและเข้าสู่อวัยวะภายใน อวัยวะภายในเกิดการขยับตัว มีการขับเคลื่อนของพลังในร่างกาย อวัยวะภายในร่างกายจึงเกิดสภาวะสมดุล ทำให้อาการทางร่างกายที่เป็นปัญหาจนเกิดเจ็บป่วยทุเลาลง และอาจหายจากอาการนั้นไปได้ ดนตรีบำบัดสามารถบรรเทาความเจ็บปวด อาหารปวดหัว วิตกกังวล โรคหัวใจ ปรับสมดุลของฮอร์โมน บรรเทาอาการคันตามผิวหนัง นอกจากนี้ยังถูกนำมาใช้แทนการฉีดยาชาเวลาถอนฟันหรือผ่าตัดอีกด้วย

การร้องเพลงส่งผลดีต่อร่างกายและจิตใจ

a3.gif

 ผู้ป่วยโรคหอบหืดสามารถฟังดนตรีเพื่อให้กล้ามเนื้อและสมองผ่อนคลาย เป็นการลดความเครียดและทำให้จิตใจสงบ ลดอาการหอบหืดกำเริบ นอกจากนั้นผู้ป่วยโรคหอบหืดอาจร้องเพลงบ่อย ๆ โดยใช้ท้องหายใจแทนทรวงอก ซึ่งจะทำให้ปอดได้พัก ขณะร้องเพลง หัวใจจะเต้นเร็วขึ้นเป็นการกระตุ้นให้กล้ามเนื้อทำงาน มีประโยชน์ในการควบคุมอาการไอและอาการของโรคหอบหืด

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
หมดปัญหาเหงื่อออกมากที่มืออย่างถาวร รักษาแล้วมือแห้ง ชีวิตง่ายขึ้น!

จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / เบิกประกันได้ / ผ่อน 0% ได้ / ปรึกษาหมอก่อนผ่าตัดได้ไม่จำกัดครั้ง

a3.gif

 สำหรับผู้ป่วยภูมิแพ้ที่ผิวหนัง ดนตรีสามารถลดความเครียดและทำให้จิตใจสงบ ช่วยลดอัตราการกำเริบของอาการแพ้อันมีสาเหตุมาจากอารมณ์และความเครียดได้ ช่วงที่อาการกำเริบ ดนตรีก็สามารถปรับสภาพจิตใจของผู้ป่วย ลดอาการนอนไม่หลับจากอาการคัน ความวิตกกังวลและความตื่นเต้นได้


5 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
Sore throat: Allergy or cold? Plus treatment and prevention. Medical News Today. (https://www.medicalnewstoday.com/articles/325115)
Do asthmatics benefit from music therapy? A systematic review. National Center for Biotechnology Information. (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/25146081)

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

บทความต่อไป