บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป เลี่ยงได้ควรเลี่ยง เลิกได้ควรเลิก

เผยแพร่ครั้งแรก 28 มี.ค. 2017 อัปเดตล่าสุด 11 ก.พ. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
1 การดูดซึมสารอาหาร: บะหมี่ยับยั้งการดูดซึมของสารอาหาร ในเด็กอายุต่ำกว่า 5

2 ก่อให้เกิดมะเร็ง: ส่วนผสมในบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปที่เรียกว่า "Styrofoam', ซึ่งเป็นสาเหตุการก่อให้เกิดมะเร็ง

3 การแท้งบุตร: การกินบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป สตรีระหว่างการตั้งครรภ์ทำให้เกิดการแท้ง มีผลต่อการพัฒนาของทารกในครรภ์

4 อาหารขยะ: บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปอุดมไปด้วยคาร์โบไฮเดรต ไม่มีวิตามิน เส้นใยอาหารและแร่ธาตุ บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปเป็นอาหารขยะอย่างหนึ่ง

5 โซเดียม: บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปให้แต่พลังงานมี โซเดียมสูง การบริโภคโซเดียมมากเกินไปจะนำไปสู่โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง, โรคหลอดเลือดสมองและโรคไต

6 ผงชูรส: ผงชูรสใช้เพิ่มรสชาติของบะหมี่สำเร็จรูป คนที่แพ้ผงชูรสหากกินบะหมี่สำเร็จรูป จะมีอาการปวดหัว,หน้าแดง ,เจ็บปวด,รู้สึกของการเผาผลาญ

7 น้ำหนักเกิน: การกินบะหมี่เป็นสาเหตุของโรคอ้วน บะหมี่มีปริมาณไขมันและโซเดียมมาก ซึ่งเป็นสาเหตุ ให้ร่างกายกักเก็บน้ำและทำให้น้ำหนักเกิน

8 การย่อยอาหาร: บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปไม่ดีต่อการย่อยอาหาร ปกติการบริโภคบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป เป็นสาเหตุ การเคลื่อนไหวของลำใส้ผิดปกติและท้องอืด

9 โพรพิลีนไกลคอล: ผสมในบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปที่เรียกว่าโพรพิลีน "ไกลคอล "ซึ่งเป็นสารป้องกันการแข็งตัว จะถูกใช้ให้เส้นบะหมี่จากการอบแห้ง ยังคงรักษาความชื้น เพื่อให้บะหมี่อ่อนตัว ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้ง่ายและ ไปสะสมอยู่ในไต,หัวใจและตับ ทำให้อวัยวะร่างกายเสียหาย

10 การเผาผลาญอาหาร: การบริโภคบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปมีผลกระทบต่อร่างกาย จากการเผาผลาญอาหารของสารเคมีในสารแต่งสีและสารกันบูดในบะหมี่

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ปรึกษาเภสัช สั่งยา ฟรีค่าส่งทั่วประเทศ*

แชทกับเภสัชกรฟรี! 9 โมงเช้าถึงเที่ยงคืน พร้อมรับส่วนลดค่ายา 5% HDmall ออกค่าส่งให้สูงสุด 40 บาท


2 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
Instant noodle consumption is associated with cardiometabolic risk factors among college students in Seoul. National Center for Biotechnology Information. (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC5449380/)
Are Instant Noodles Bad for You?. Healthline. (https://www.healthline.com/nutrition/instant-noodles)

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

บทความต่อไป