กองบรรณาธิการ HD
เขียนโดย
กองบรรณาธิการ HD
ทีมแพทย์ HD
ตรวจสอบความถูกต้องโดย
ทีมแพทย์ HD

อาการใดบ้างบอกว่าคุณตั้งครรภ์แล้ว และฮอร์โมน hCG คืออะไร

เผยแพร่ครั้งแรก 18 ก.พ. 2019 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 ตรวจสอบความถูกต้อง 25 ก.พ. 2019 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
อาการใดบ้างบอกว่าคุณตั้งครรภ์แล้ว และฮอร์โมน hCG คืออะไร

การตั้งครรภ์และคลอดบุตรในแต่ละครั้งนั้นแตกต่างกัน อาการที่พบได้บ่อยในคุณแม่ส่วนใหญ่ได้แก่ 

หากมีอาการเหล่านี้ควรตรวจปัสสาวะดูการตั้งครรภ์ ถ้าผลเป็นบวกควรไปฝากครรภ์ต่อไป อย่างไรก็ตาม บางคนอาจมีอาการอื่นๆ ได้ หรือในคุณแม่รายเดียวกันก็อาจมีอาการแตกต่างกันไปในการตั้งครรภ์แต่ละครั้ง

วิธีหนึ่งที่ใช้ตรวจสุขภาพครรภ์คือตรวจฮอร์โมน Human chorionic gonardotropin (hCG) ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่เกิดจากรก ฮอร์โมนนี้จะเพิ่มขึ้นเมื่อคุณแม่ตั้งครรภ์ และจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ไปจนกว่าจะคลอด สามารถตรวจฮอร์โมนนี้เพื่อพิสูจน์การตั้งครรภ์ทางเลือดได้ตั้งแต่วันที่ 11 หลังปฏิสนธิ และทางปัสสาวะได้ตั้งแต่วันที่ 12-14 หลังการปฏิสนธิ 

บางทีหากระบบไหลเวียนโลหิตของมารดามีฮอร์โมนโพรเจสเทอโรนต่ำ อาจมีการใช้วิธีฉีดฮอร์โมน hCG เพื่อกระตุ้นระดับฮอร์โมนโพรเจสเทอโรนให้เพิ่มขึ้น เป็นการรักษาครรภ์ทางหนึ่ง ทางเลือกอื่นๆ ในการรักษาครรภ์ได้แก่ ให้ฮอร์โมนโพรเจสเทอโรนโดยตรง อย่างไรก็ตาม ยังเป็นที่ถกเถียงกันทั้งสองวิธีมีประโยชน์จริงหรือไม่

คุณแม่ที่ต้องการตรวจสุขภาพครรภ์ให้ได้ผลแม่นยำที่สุด แนะนำให้ใช้การตรวจอัลตราซาวนด์ ซึ่งจะแสดงให้เห็นพัฒนาการของทารกในครรภ์ได้จากการเต้นของหัวใจ เริ่มตรวจพบได้ตั้งแต่อายุครรภ์ 6 สัปดาห์


3 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
Joyce Gottesfeld and Marshall Gottesfeld, I'm having a symptomless second pregnancy. Is this normal? (https://www.babycenter.com/404_im-having-a-symptomless-second-pregnancy-is-this-normal_2206.bc)
Human Chorionic Gonadotropin (HCG): The Pregnancy Hormone (http://americanpregnancy.org/while-pregnant/hcg-levels/), 22 Feb 2019

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

บทความต่อไป
ทารกมีอัตราการเต้นของหัวใจช้า อันตรายหรือไม่
ทารกมีอัตราการเต้นของหัวใจช้า อันตรายหรือไม่

เรื่องง่ายๆ ที่คุณแม่ทุกคนต้องใส่ใจเพราะอัตราการเต้นของหัวใจสัมพันธ์กับความปลอดภัยของลูกน้อย

อ่านเพิ่ม
ทำความเข้าใจกับภาวะตั้งครรภ์ที่ไข่ที่ปฏิสนธิไม่ฝังตัว (Chemical Pregnancy) ใช่หรือไม่ใช่?
ทำความเข้าใจกับภาวะตั้งครรภ์ที่ไข่ที่ปฏิสนธิไม่ฝังตัว (Chemical Pregnancy) ใช่หรือไม่ใช่?

การตั้งครรภ์ที่เร็วเกินไปที่จะยืนยันด้วยวิธีการทางชีวเคมี

อ่านเพิ่ม