กองบรรณาธิการ HD
เขียนโดย
กองบรรณาธิการ HD

หญิงตั้งครรภ์สามารถใช้ยาพาราเซตามอนได้หรือไม่

เผยแพร่ครั้งแรก 27 มิ.ย. 2018 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
หญิงตั้งครรภ์สามารถใช้ยาพาราเซตามอนได้หรือไม่

หากตั้งครรภ์แล้วมีอาการต่างๆ ที่ทำให้ต้องใช้ยาแก้ปวดลดไข้ พาราเซตามอน นั้น หญิงตั้งครรภ์สามารถใช้ได้อย่างปลอดภัย แต่อย่างไรก็ตามก่อนที่จะใช้ยาใดๆก็ตาม ควรปรึกาาเภสัชกรก่อนเสมอ

การใช้ยาพาราเซตามอนในขณะตั้งครรภ์

ข้อบ่งใช้ในหญิงตั้งครรภ์สำหรับยาพาราเซตามอนคือ ลดอาการปวดในระดับน้อยถึงปานกลาง และลดไข้ มีการใช้ยาพาราเซตามอนกันอยู่ทั่วไปในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์มาเป็นเวลานานแล้ว เพื่อใช้ลดไข้และแก้ปวด โดยยังไม่มีหลักฐานที่ชัดเจนว่ามีผลข้างเคียงร้ายแรงใดต่อทารกในครรภ์ แต่อย่างไรก็ตาม ควรใช้ยาพาราเซตามอลในขนาดต่ำที่สุดที่รักษาอาการได้ และใช้ระยะเวลาน้อยที่สุด เพื่อลดผลข้างเคียงให้ต่ำที่สุดแก่ทารกในครรภ์

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ปรึกษาเภสัช สั่งยา ฟรีค่าส่งทั่วประเทศ*

แชทกับเภสัชกรฟรี! 9 โมงเช้าถึงเที่ยงคืน พร้อมรับส่วนลดค่ายา 5% HDmall ออกค่าส่งให้สูงสุด 40 บาท

หญิงตั้งครรภ์สามารถใช้ยาไอบูโพรเฟนได้หรือไม่

หญิงตั้งครรภ์ควรปรึกษาเภสัชกรหรือแพทย์ก่อนที่จะใช้ยาไอบูโพรเฟน โดยแนะนำให้ใช้ยาพาราเซตามอลก่อน

ห้ามใช้ยาไอบูโพรเฟนในหญิงที่มีอายุครรภ์ตั้งแต่ 30 สัปดาห์ขึ้นไป

ห้ามใช้ยาไอบูโพรเฟนในหญิงที่มีอายุครรภ์ 30 สัปดาห์ขึ้นไป เว้นแต่แพทย์ให้ใช้เนื่องด้วยความจำเป็นแล้วแต่กรณีไป เนื่องจากการใช้ยาไอพูโพรเฟนในช่วงนั้นจะเพิ่มความเสี่ยงให้เด็กในครรภ์พิการได้ เช่น มีความบกพร่องของหัวใจและลดปริมาณน้ำคร่ำได้ ทางที่ดีควรที่จะเลี่ยงการใช้ยาตั้งแต่ก่อนอายุครรภ์ 40 สัปดาห์


3 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
Can I take paracetamol when I'm pregnant?. NHS (National Health Service). (https://www.nhs.uk/common-health-questions/pregnancy/can-i-take-paracetamol-when-i-am-pregnant/)
Paracetamol Medication During Pregnancy: Insights on Intake Frequencies, Dosages and Effects on Hematopoietic Stem Cell Populations in Cord Blood From a Longitudinal Prospective Pregnancy Cohort. National Center for Biotechnology Information. (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC5832562/)
What You Should Know About Taking Paracetamol Oral when pregnant, nursing, or administering to children or adults over 60. WebMD. (https://www.webmd.com/drugs/2/drug-57595/paracetamol-oral/details/list-precautions)

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

บทความต่อไป
ทารกมีอัตราการเต้นของหัวใจช้า อันตรายหรือไม่
ทารกมีอัตราการเต้นของหัวใจช้า อันตรายหรือไม่

เรื่องง่ายๆ ที่คุณแม่ทุกคนต้องใส่ใจเพราะอัตราการเต้นของหัวใจสัมพันธ์กับความปลอดภัยของลูกน้อย

อ่านเพิ่ม
อะไรคือสัญญาณการฉีกขาดในภาวะตั้งครรภ์นอกมดลูก?
อะไรคือสัญญาณการฉีกขาดในภาวะตั้งครรภ์นอกมดลูก?

เรียนรู้สัญญาณการตั้งครรภ์นอกมดลูกก่อนที่มันจะฉีกขาด

อ่านเพิ่ม
ทำความเข้าใจกับภาวะตั้งครรภ์ที่ไข่ที่ปฏิสนธิไม่ฝังตัว (Chemical Pregnancy) ใช่หรือไม่ใช่?
ทำความเข้าใจกับภาวะตั้งครรภ์ที่ไข่ที่ปฏิสนธิไม่ฝังตัว (Chemical Pregnancy) ใช่หรือไม่ใช่?

การตั้งครรภ์ที่เร็วเกินไปที่จะยืนยันด้วยวิธีการทางชีวเคมี

อ่านเพิ่ม