May 16, 2018 22:18

อยากจะทราบปริมาณฉี่เราแต่ละครั้ง ทดลองเองได้ไหมค่ะ สวัสดีค่ะอยากจะถามหมอว่าหนูอยากจะทราบปริมาณฉี่เราแต่ละครั้งเลยทดลองเอง คือรองฉี่มาเอาใส่ถ้วยตวงวัดดูน่ะค่ะ ลองทำมาครั้งนึงไม่มีปัญหาอะไรค่ะ แต่คราวนี้หนูจะอั้นมากแบบปวดสุดเลย คืออยากทราบว่ากระเพาะปัสสาวะของเราเก็บได้มากขนานไหนและจะทำแค่ครั้งเดียวค่ะ เพราะก่อนนี้ที่ลองไป ก็อั้นฉี่มากๆแต่ยังไม่ฉี่เล็ดออกมาเลยไม่แน่ว่ากระเพาะเต็มหรือยัง เลยอยากรู้ว่ามันจะเสี่ยงอันตรายไปไหมค่ะ ปกติเป็นคนอั้นฉี่ไม่บ่อยและกินน้ำเยอะตอนทำทุกครั้งค่ะ เลยอยากทราบคำแนะนำเพิ่มเติมค่ะคุณหมอว่าถูกต้องหรือไหม ที่สงสัยอยู่คือ 1 แล้วถ้าหนูจะอั้นให้เต็มกระเพาะปัสสาวะ ต้องอั้นมากจนมีฉี่ราดซึมๆเลยหรือไม่ค่ะ ถึงจะเรียกว่าเต็มจริง// 2 แล้วตอนปวดฉี่มากจนท้องน้อยป่องแข็งขึ้นมา หมายถึงกระเพาะปัสสาวะเต็มป่าวค่ะหรือปกติแค่มันใหญ่เฉยๆ ในรูปอ่าค่ะ//

ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรคหรือการรักษา คุณควรพบแพทย์เพื่อรับการตรวจหากมีอาการน่ากังวล)

ดูคำถามและคำตอบอื่นที่คล้ายกัน
มีอาการฉี่บ่อย และหนาวง่าย อยากทราบว่ามีโอกาสเป็นโรคอะไร และมีวิธีดูแลรักษาเบื้องต้นอย่างไรบ้างคะ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
มีปัญหาเรื่องปัสสาวะเล็ดอยู่ตลอดเวลา จะมีทางรักษาไหม
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
ฉี่บ่อยเวลากลางคืนจะเป็นไรไหมครับ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
ทำไมคนที่เคยเป็นกระเพาะปัสสาวะอักเสบถึงได้เป็นบ่ยๆ มีวิธีรักษาให้หายขาดไหม
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
ปัสสาวะตอนกลางคืนบ่อยมากค่ะ ทั้งที่กลางวันไม่ค่อยได้ดื่มน้ำเท่าไร เป็นมานาน เคยตรวจแต่ไม่พบอะไร มีโรคประจำตัว ms ค่ะ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
กระเพาะปัสสาวะบีบตัวไวเกิน ถามว่า อาการขั้นแรกรักษาให้หายได้หรือไม่
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)