May 03, 2019 10:59

สวัสดีค่ะคุณหมอ ตอนนี้อายุ 24 ปี ซ้อมวิ่งตั้งแต่ต.ค.ปี61 ไม่เคยพบปัญหาอะไร จนมาเดือนก.พ.62 เกิดการเมื่อยขาขวาขณะซ้อมวิ่งก็เลยสะบัดขาแรงๆด้วยการเตะไปข้างหน้าหลายที หลังจากนั้นเวลาซ้อมวิ่ง เวลาวิ่งเร็วจะปวดเข่ามาก ข้อเท้าด้านหน้าไปจนถึงหน้าเท้ามีอาการตึงตึงมาก ต้องเปลี่ยนเป็นเดินแทน ในเวลาทั่วไปสามารถเดินได้ปกติค่ะ ไม่ปวดแต่จะตึงๆบ่อย ต้องคอยยืดเหยียด เวลางอเข่าแล้วยืดจะมีเสียงก็อก แค่เฉพาะตรงข้างใต้หัวเข่าด้านหน้า(ฝั่งนอก)มีอาการบวมกว่าหัวเข่าอีกข้างค่ะ จากนั้นก็เลยหยุดซ้อมวิ่งประมาณเดือนนึง ไม่ออกกำลังกายหนักเลย แต่หาท่าออกกำลังกายสร้างความแข็งแรงให้กับเข่าและสะโพกแทน ช่วงที่พักไปเดือนนึงรู้สึกร่างกายดีขึ้น จนตอนนี้ลองกลับมาวิ่ง อาการเดิมๆที่เคยเจอก็กลับมาหมดเลยค่ะ รบกวนคุณหมอแนะนำวิธีรักษาได้ไหมคะ อาการที่กำลังเป็นอยู่มันคืออะไร ดิฉันต้องรับการรักษาจากแพทย์ไหมคะ ขอบคุณมากค่ะ

ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรคหรือการรักษา คุณควรพบแพทย์เพื่อรับการตรวจหากมีอาการน่ากังวล)

ดูคำถามและคำตอบอื่นที่คล้ายกัน
อายุเข้า 36 ในปีนี้ ทำงานบริษัท ปีนี้เวียนหัวและหน้ามืดบ่อยมาก เป็นเพราะอายุที่เพิ่มขึ้นหรือไม่
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
เวลาวิ่งออกกำลังกายอ่ะคะ วิ่งได้สักพักมันจะปวดท้องด้านบ้าง ขวาบ้าง พอพักวิ่งถึงหายปวด อย่างนี้มันเป็นอะไรคะหมอ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
ถ้าเราตั้งครรภ์อยู่แล้วยกของแต่ไม่หนักมากแต่เวลาจะนอนทีไรนอนหงายไม่ได้เลยค่ะแบบนี้จะอันตรายกับลูกในท้องไหม
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
อยากถามค่ะว่าเด็กที่มีน้ำหนักเยอะ เด็กอ้วนค่ะ มีสิทธ์ที่จะเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานไหมค่ะ และเสี่ยงเป็นโรคอื่นด้วยไหมค่ะ ลูกชายอายุ 6 ขวบมีน้ำหนัก 40 กิโล ตอนนี้แม่กังวลมากๆค่ะ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
ไม่มีเวลาออกกำลังกายทำแต่งานต้องดูแลตัวเองอย่างไรค่ะ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)