August 07, 2018 07:45

ประจำเดือนขาด หลังจากเคยทานยาปรับฮอร์โมน คือเมื่อช่วงเดือนเมษ ประจำเดือนมากระปริดกระปรอย ไม่หยุด(มานิดเดียวจิงๆคะต้องใส่แผ่นแคร์ฟรีตลอด) แต่เมือถึงช่วงที่ประจำเดือนต้องมา มันจะมาเยอะกว่า ช่วงกระปริดกระปอยนิดหน่อยและสีเข้มกว่า เปนแบบนี้จนถึง เดือนมิถุนา พอวันที่9มิถุนาเลยไปหาหมอ หมอบอกว่าให้ตรวจฉี่ หมอบอกไม่ตั้งครรภ์(และไม่ได้ทางยาคุมค่ะเวลามีเพศสัมพันธ์แฟนก้ใส่ถุงยางตลอด) หมอบอกอีกว่าอาจเปนเพราะน้ำหนักขึ้นมากเกินฮอร์โมนเลยเปลี่ยน (จากปีที่แล้ว น้ำหนักดิฉันขึ้นมา10โล) หมอเลยให้ยา Norethisterone มาทานสองอาทิด ช่วงที่ทางยาก้มีปวดๆท้อง พอวันที่ทานยาหมด ประจำเดือนก้มาปกติ ประจำเดือนมาตั้งแต่วันที่28ปวดท้องมากเลยค่ะและ ประจำเดือนมาเยอะมาก วันที่2 ก.ค.ไปหาหมอตามหมอนัด หมอบอกว่าเปนปกติแล้วแต่ให้คุมน้ำหนักอย่าให้มากกว่านี้ แตาอยากให้ลดลงที่ละเยอะเกิน พอวันที่ 4ประจำเดือน ก้หมดค่ะ จนถึงวันนี้ ประจำเดือนก้ยังไม่มาเลยค่ะ รอบเดือน ของดิฉันปกติ 30วัน แต่เคยมากสุดถึง 45วันค่ะ กังวลมากเลยคะ กลัวจะเปนอะไรร้ายๆ

ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรคหรือการรักษา คุณควรพบแพทย์เพื่อรับการตรวจหากมีอาการน่ากังวล)

ดูคำถามและคำตอบอื่นที่คล้ายกัน
การฝั่งเข็มคุมกำเนิด เเล้วทำให้ประจำเดือนไม่มา จะส่งผลกับร่างกายเราทางด้านใดบ้างมากน้อย เพียงใด ผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นจากการฝั่งเข็ม ควรเเก้ไขอย่างไร
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
การมีประจำเดือนมาไม่ปกติเกิดจากสาเหตุอะไรค่ะ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
ประจำเดือนมาไม่ปกติ คือ2-5 เดือนมาครั้ง จะเป็นอันตรายไรมั้ยคะ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
อายุ44แล้ว แต่เวลามีรอบเดือน ปวดช่วงท้องน้อยมาก และ มีใข้ ใกล้ถึงวัยทองหรือเปล่าคะ?
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
ประจำเดือนมาไม่ปกติ พยามยามลดน้ำหนักแล้วแต่ก็ยังมาไม่ปกติอยู่ดีควรทำไงค่ะ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)