June 16, 2017 07:58

พี่สาว มีอาการแสบร้อนภายในร่างกายเหมือนไฟเผาข้างใน บริเวณอก แขน เป็นเฉพาะแค่ลำตัวส่วนบน ทรมารมากเลยค่ะและไม่ค่อยได้นอนหลับตอนกลางคืนเพราะอาการมันกำเริบ แต่พอจับเนื้อตัวเพื่อวัดอุณหภูมิร่างกายก็ปกติดีค่ะ อาการแสบร้อน อาการกำเริบเกิดขึ้นต่อวัน 1 เป็นประมาณ 4-5 ครั้ง นานถึงครึ่งชั่วโมงหรือ1 ชั่วโมงเต็มๆ - ก่อนที่จะเป็น เมื่อเดือนพฤษภาคม พี่สาวได้เป็นประจำเดือนนาน ถึง 14 วัน แล้วเกิดอาการช๊อคเพราะเสียเลือดไปมาก จึงได้มีการตรวจภายในครั้งแรก และได้รับเลือด และหลังจากนั้นพี่สาวก็เริ่มมีอาการ แสบร้อนภายในร่างกาย - เดือนมิถุนายน ประจำไหลออกเยอะจึงไปหาหมอที่คลีนิกและตรวจมดลูกแล้วหมอพบว่าพี่สาวของหนูมีก้อนน้ำที่ปีกมดลูก หมอก็ฉีดยาที่ช่วยห้ามเลือดประจำเดือน และพอตรวจเสร็จก็กลับบ้าน นานไปสักพัก รู้สึกเหนื่อยหายใจไม่ค่อยออก เลยพาไปโรงพยาบาล และนอน ที่สูตินารีเวช และมีการรักษา หมอขูดรังไข่มดลูกเพื่อลดการไหลของประจำเดือน มันก็ค่อยหยุดและดีขึ้นเรื่อยๆ แต่อาการที่มันเป็นอยู่ตอนนี้คือ "แสบร้อนภายในร่างกาย"

ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรคหรือการรักษา คุณควรพบแพทย์เพื่อรับการตรวจหากมีอาการน่ากังวล)

ดูคำถามและคำตอบอื่นที่คล้ายกัน
การฝั่งเข็มคุมกำเนิด เเล้วทำให้ประจำเดือนไม่มา จะส่งผลกับร่างกายเราทางด้านใดบ้างมากน้อย เพียงใด ผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นจากการฝั่งเข็ม ควรเเก้ไขอย่างไร
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
การมีประจำเดือนมาไม่ปกติเกิดจากสาเหตุอะไรค่ะ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
ประจำเดือนมาไม่ปกติ คือ2-5 เดือนมาครั้ง จะเป็นอันตรายไรมั้ยคะ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
อายุ44แล้ว แต่เวลามีรอบเดือน ปวดช่วงท้องน้อยมาก และ มีใข้ ใกล้ถึงวัยทองหรือเปล่าคะ?
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
ประจำเดือนมาไม่ปกติ พยามยามลดน้ำหนักแล้วแต่ก็ยังมาไม่ปกติอยู่ดีควรทำไงค่ะ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)