November 04, 2018 20:19

สวัสดีครับผมอายุ 49 ปี อาชีพพนักงานบริษัทเป็นช่างกลึงCNC ส่วนสูง180 น้ำหนัก 85 มีอาการเจ็บปวดทั่วร่างกายทั้งที่สะบักและเอวด้านหลังทั้งสองข้าง รวมถึงเจ็บกล้ามเนื้อบริเวณใต้ราวนมทั้งสองข้าง แล้วก็ยังเจ็บบริเวณต้นขาทั้งด้านหน้าและด้านหลังจะเป็นมากที่ขาขวา เวลาลุกจะรู้สึกตึงบริเวณเอวข้างหลังและช่วงราวนมทั้งสองข้าง ที่ขาก็จะรู้สึกตึงและเจ็บต้องใช้เวลาในการลุก ส่วนตอนจะนอนก็ต้องใช้เวลากว่าจะล้มตัวลงนอนได้เพราะเจ็บและตึงไปตามจุดต่างๆในข้างต้นครับ เวลาตื่นนอนก็จะทรมานมากกว่าจะลุกได้มีอาการเจ็บและตึง รวมถึงบางทีก็จะเสียวแปลบๆบริเวณบั้นท้าย ลุกยากมากๆจนทุกวันนี้ต้องนั่งหลับเลยครับ ไปหาหมอมา4ครั้ง หมอบอกเป็นกล้ามเนื้ออักเสบก็ได้ฉีดยาทุกครั้งและหมอให้ยามารับประทานก็ทานหมดแล้ว แต่อาการไม่ค่อยจะดีขึ้นเลย เป็นมาเดือนกว่าๆแล้วครับ ทั้งตึงทั้งเจ็บปวดในเกือบทุกกริยาที่จะทำ ยังไปทำงานเหมือนเดิม แล้วผมใช้ยานวดCounterpain สูตรร้อน แล้วรู้สึกผ่อนคลายขึ้น อยากทราบว่าอาการแบบนี้เป็นกล้ามเนื้ออักเสบใช่ไหมครับหรือมีความเสี่ยงโรคอื่นอีก? ควรรักษาอย่างไรบ้างให้หาย? ใช้เวลานานแค่ไหนถึงจะหาย?ทรมานมากครับ แล้วการนวดสามารถนวดได้หรือไม่ครับถ้าเป็นอาการแบบนี้

ตอบโดยแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรคหรือการรักษา คุณควรพบแพทย์เพื่อรับการตรวจหากมีอาการน่ากังวล)

ดูคำถามและคำตอบอื่นที่คล้ายกัน
ทำไม่ ต้องอ้วนลงพุ่งค่ะ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
ปวดกลังปวดเอว.เอ็นข้อศอกอักเสบเรื้อรังไม่หายสักที
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
การปวดหลังเป็นประจำทุกวันเกิดจากอะไร
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
มีลูกเป็นเด็ก CP ค่ะ ตอนนี้ทานอาหารทางสายยาง...ไม่ทราบว่าน้องมีโอกาสต้องเจาะใส่สายทางหน้าท้องหรือป่าวค่ะ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)
อาการปวดเมื้อยบริเวณเหนือสะโพก เกิดจากอะไร มีวิธีรักษายังไงคะ
คำถามนี้ได้การตอบจากแพทย์ที่มีใบอนุญาต (คำตอบนี้เป็นการให้คำแนะนำเบื้องต้น ไม่สามารถแทนการวินิจฉัยโรค หรือการรักษา)