โรคภูมิแพ้ เริ่มแพร่หลาย ในประเทศไทย

เผยแพร่ครั้งแรก 28 มี.ค. 2017 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
โรคภูมิแพ้ เริ่มแพร่หลาย ในประเทศไทย
a16.gif

 โรคภูมิแพ้จัดเป็นโรคที่พบบ่อยโรคหนึ่งในประเทศไทย จากการศึกษาอัตราความชุกของโรคในประเทศไทย มีอัตราความชุกอยู่ระหว่างร้อยละ 15-45 โดยประมาณ โดยพบโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้หรือแพ้อากาศมีอัตราชุกสูงสุดในกลุ่มโรคภูมิแพ้ นั้นหมายความว่า ประชากรเกือบครึ่งหนึ่งของประเทศมีปัญหาเกี่ยวกับโรคภูมิแพ้อยู่

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ปรึกษาเภสัช สั่งยา ฟรีค่าส่งทั่วประเทศ*

แชทกับเภสัชกรฟรี! 9 โมงเช้าถึงเที่ยงคืน พร้อมรับส่วนลดค่ายา 5% HDmall ออกค่าส่งให้สูงสุด 40 บาท

a16.gif

 อัตราคนเป็นโรคภูมิแพ้ที่เพิ่มขั้นมีส่วนเกี่ยวข้ออย่างมากกับการใช้ชีวิตและการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม เราจึงควรหันมาเรียนรู้วิธีรับมือ ป้องกัน ควบคุม และรักษาอย่างถูกต้อง

จริงหรือที่ภูมิคุ้มกันไม่ดีทำให้เกิดอาการแพ้ได้ง่าย

a16.gif

 คนทั่วไปมักคิดว่า ระบบภูมิคุ้มกันไม่ดีจะทำให้เกิดอาการภูมิแพ้ได้ง่าย แต่หากจะพูดให้ถูกควรพูดว่า การทำงานของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายอ่อนแอจึงทำให้เกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้


2 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
ncbi.nlm.nih., Prevalence of adverse food reactions and food allergy among Thai children. (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/16856422)
rcot, วัคซีนภูมิแพ้ไรฝุ่น กับสถานการณ์โรคภูมิแพ้ปัจจุบัน (http://www.rcot.org/2016/People/Detail/61), 16.04.2009

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

บทความต่อไป