กองบรรณาธิการ HD
เขียนโดย
กองบรรณาธิการ HD

เคล็ดลับ 50 อย่างที่จะทำให้คุณมีสุขภาพการตั้งครรภ์ที่ดี

เผยแพร่ครั้งแรก 12 มี.ค. 2017 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 เวลาอ่านประมาณ 3 นาที
เคล็ดลับ 50 อย่างที่จะทำให้คุณมีสุขภาพการตั้งครรภ์ที่ดี

การมีสุขภาพที่ดีก่อนการตั้งครรภ์ ขณะตั้งครรภ์ และหลังการตั้งครรภ์นั้นเกี่ยวข้องกับหลายปัจจัยในชีวิตด้วยกัน ดังนั้นเรียนรู้วิธีการปฏิบัติตัวง่าย ๆ ดังต่อไปนี้จะช่วยให้คุณมีสุขภาพที่แข็งแรงได้

50 ข้อควรรู้ที่จะทำให้สุขภาพดีระหว่างตั้งครรภ์

1. ไปปรึกษาแพทย์เพื่อวางแผนก่อนการตั้งครรภ์

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
หมดปัญหาเหงื่อออกมากที่มืออย่างถาวร รักษาแล้วมือแห้ง ชีวิตง่ายขึ้น!

จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / เบิกประกันได้ / ผ่อน 0% ได้ / ปรึกษาหมอก่อนผ่าตัดได้ไม่จำกัดครั้ง

2. ปรับเปลี่ยนวิถีการรับประทานอาหาร เพื่อให้ได้รับสารอาหารที่หลากหลายดีต่อสุขภาพ

3. ออกกำลังกาย เริ่มต้นออกกำลังกายวันนี้ จะช่วยให้คุณมีรูปร่างที่ดีระหว่างการตั้งครรภ์ ช่วยลดความเสี่ยงในการแท้งบุตร และสามารถลดภาวะแทรกซ้อนระหว่างการคลอดบุตร

4. ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม

5. ลองรับประทานผักชนิดอื่น ๆ ที่ยังไม่เคยทาน

6. หาหนังสือการตั้งครรภ์มาอ่าน

7. ศึกษาทำความเข้าใจสิ่งให้ใช้ในการคุมกำเนิด เช่น ยาคุมกำเนิด

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
หมดปัญหาเหงื่อออกมากที่มืออย่างถาวร รักษาแล้วมือแห้ง ชีวิตง่ายขึ้น!

จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / เบิกประกันได้ / ผ่อน 0% ได้ / ปรึกษาหมอก่อนผ่าตัดได้ไม่จำกัดครั้ง

8. หยุดสูบบุหรี่ ซึ่งปัจจุบันหลากหลายวิธีที่ช่วยคุณได้

9. รับประทานวิตามินในช่วงก่อนการตั้งครรภ์ แพทย์อาจแนะนำให้ทานวิตามินเสริม หรือ สามารถซื้อมาทานได้เอง ซึ่งวิตามินดังกล่าวควรจะมีปริมาณกรดโฟลิค 0.4มิลลิกรัม

10. ปรึกษาคู่ครองของคุณในการปรับเปลี่ยนให้มีสุขภาพที่ดีไปด้วยกัน

11. จดบันทึกรอบเดือนของคุณ หากคุณรู้วันเวลารอบเดือนของคุณในแต่ละเดือนนั้น จะช่วยให้คุณคาดคะเนวันที่จะมีการตกไข่ ซึ่งจะช่วยให้คุณมีการตั้งครรภ์ได้ง่ายขึ้น

12. หากคุณต้องการผู้เชี่ยวชาญคนใหม่มาดูแลคุณ ควรทำความเข้าใจ เตรียมพร้อมก่อนที่คุณจะตั้งครรภ์

13. ขอคำปรึกษาจากเพื่อน หรือพ่อแม่ ในด้านการมีบุตร

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ปรึกษาเภสัช สั่งยา ฟรีค่าส่งทั่วประเทศ*

แชทกับเภสัชกรฟรี! 9 โมงเช้าถึงเที่ยงคืน พร้อมรับส่วนลดค่ายา 5% HDmall ออกค่าส่งให้สูงสุด 40 บาท

14. หลีกเลี่ยงสารเคมีต่าง ๆ ที่จะมีผลต่อเด็กในท้อง ซึ่งสารเหล่านี้อาจพบได้ทั้งที่ทำงาน ที่บ้าน หรือสถานที่อื่น ๆ พึงระวังไว้เสมอ

15. พบทันตแพทย์ก่อนการตั้งครรภ์ และทำความสะอาดช่องปากโดยการแปรงฟันทุกวัน

16. หากคุณกำลังวางแผนที่จะมีบุตรในอนาคต คุณควรแจ้งให้แพทย์ทราบเพราะ จะช่วยป้องกันการทดสอบหรือการใช้สารเคมีที่อาจอันตรายต่อเด็กในครรภ์ ขณะที่คุณยังไม่ทราบว่ามีการตั้งครรภ์แล้ว

17. ควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสสิ่งปฏิกูลจากแมว

18. การตั้งครรภ์นั้น อาจะใช้เวลานานเป็นปี ซึ่งหากคุณมีอายุมากกว่า 35 ปี และกำลังพยายามมีบุตรมาหลายปี หรือมากกว่า 6 เดือน แนะนำให้ไปปรึกษาแพทย์

19. ปฏิบัติตัวเสมือนว่าคุณกำลังตั้งครรภ์ โดยไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในระหว่างช่วงที่พยายามจะมีบุตร เนื่องจากยังไม่ทราบว่าระดับแอลกอฮอล์ปริมาณเท่าใดที่ปลอดภัยขณะตั้งครรภ์ และจะไม่ทำให้กำเนิดลูกที่มีความพิการ

20. เมื่อคุณมีความพร้อม ประกาศให้ทุกคนทราบว่าคุณตั้งท้อง

21. ปรึกษาพ่อแม่ ขอคำแนะนำจากประสบการการณ์เคยตั้งครรภ์มาก่อน ทำอย่างไรให้มีความแตกต่าง

22. พักผ่อนให้เพียงพอ

23. เริ่มต้นทำบทความเกี่ยวกับการตั้งครรภ์

24. หาวิธีการรักษาโดยไม่ใช้ยารักษา เมื่อ มีอาการคลื่นไส้ แสบร้อนกลางอึก หรือมีท้องผูก

25. ดื่มน้ำ 6-8 แล้ว ต่อวัน

26. อ่านหนังสือ

27. เข้าร่วมการฝึกโยคะ หรือออกกำลังกายก่อนการตั้งครรภ์

28. ไปปรึกษาแพทย์ ตามนัด ทุกครั้ง เพื่อตรวจหาความผิดปกติ

29. เข้าร่วมกิจกรรมก่อนการตั้งครรภ์

30. หากกำลังตั้งครรภ์แนะนำให้ทานอาหารเพิ่มขึ้น 300-500 แคลอรี่ต่อวัน

31. เลือกหาสถานที่คลอดบุตรหากคุณไม่ต้องการคลอดบุตรที่บ้าน

32. สังเกตอาการคลอดก่อนกำหนด และอาการผิดปกติเพื่อที่จะโทรหาแพทย์ได้ทันที

33. ปรึกษาบุคลากรทางการแพทย์ เพื่อขอคำปรึกษาในการตั้งครรภ์ ซึ่งจะช่วยให้คุณวางแผนการคลอดได้อย่างรวดเร็ว ปลอดภัย และพึงพอใจมากขึ้น

34. รับประทานอาหารให้ครบถ้วนให้เพียงพอแก่ความต้องการของร่างกาย

35. หากคุณกำลังตกแต่งภายในบ้าน หรือสถานเลี้ยงดูเด็ก คุณควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสฝุ่นละอองซึ่งอาจมาจากการใช้สีและ พื้นฝาผนัง แนะนำให้ชวนเพื่อนมาช่วยทำงาน ซึ่งคุณคอยทำหน้าที่ทำอาหารไปให้เขา และอย่าลืมเปิดหน้าต่างระบายอากาศทิ้งไว้ด้วย

36. ไปหาเพื่อนที่มีลูกแล้ว เพื่อที่จะได้เรียนรู้วิธีการดูแลเด็กแรกเกิดมากยิ่งขึ้น

37. เข้าร่วมกิจกรรมการคลอดบุตร อย่าลืมรีบลงทะเบียนและตรวจสอบวันเวลาก่อน

38. การออกกำลังกายว่ายน้ำสามารถทำได้ ในระยะท้ายของการตั้งครรภ์ ซึงจะช่วยลดอาการปวดบริเวณต่างๆและช่วยให้คุณมีน้ำหนักตัวลดลง

39. เข้าเรียนวิธีการให้นมบุตร เพื่อช่วยให้คุณเตรียมตัวสำหรับการให้นมบุตรในวันข้างหน้า

40. ทำการยืดเส้นก่อนเข้านอนจะช่วยลดอาการปวดขาได้

41. ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ถึงแม้ว่าคุณจะค่อย ๆ ทำ ซึ่งจะช่วยให้คุณฟื้นฟูได้เร็วมากขึ้น

42. จดบันทึกกำหนดวันเกิดเพื่อช่วยเตือนคุณในสิ่งที่คุณต้องการและจำเป็นที่จะต้องใช้ในวันที่คลอดบุตร อย่าลืมแชร์ประสบการณ์ต่าง ๆ กับแพทย์และเพื่อน ๆ ของคุณที่มาในวันคลอดลูก

43. เตรียมฟิล์มและกล้องให้เรียบร้อย

44. พยายามฝึกผ่อนคลายเมื่อไรก็ตาม อย่างน้อยวันละครั้ง

45. พยายามทำท่าบริหารอุ้งเชิงกรานเพื่อช่วยลดอาการปวดหลังในช่วงท้ายของการตั้งครรภ์ นอกจากจะช่วงลดอาการปวด ยังส่งเสริมให้คลอดลูกออกมาในท่าที่เหมาะสม

46. เตรียมเก็บกระเป๋า หากคุณกำลังจะไปโรงพยาบาลหรือศูนย์บริการคลอดบุตร อย่าลืมพกบัตรประกันสุขภาพ, เอกสารที่สำคัญ ,กล้อง , กำหนดการคลอด , ฯลฯ

47. หมั่นสังเกตอาการนำก่อนคลอดบุตรและสัญญาณเตือนต่าง ๆ ของการคลอดบุตร

48. ถ่ายรูปตนเองก่อนคลอดบุตร!

49. อ่านประสบการณ์การคลอดบุตร

50. เตรียมตัวจูบลูกคุณได้เลย!


4 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

บทความต่อไป
ทารกมีอัตราการเต้นของหัวใจช้า อันตรายหรือไม่
ทารกมีอัตราการเต้นของหัวใจช้า อันตรายหรือไม่

เรื่องง่ายๆ ที่คุณแม่ทุกคนต้องใส่ใจเพราะอัตราการเต้นของหัวใจสัมพันธ์กับความปลอดภัยของลูกน้อย

อ่านเพิ่ม
อะไรคือสัญญาณการฉีกขาดในภาวะตั้งครรภ์นอกมดลูก?
อะไรคือสัญญาณการฉีกขาดในภาวะตั้งครรภ์นอกมดลูก?

เรียนรู้สัญญาณการตั้งครรภ์นอกมดลูกก่อนที่มันจะฉีกขาด

อ่านเพิ่ม
ทำความเข้าใจกับภาวะตั้งครรภ์ที่ไข่ที่ปฏิสนธิไม่ฝังตัว (Chemical Pregnancy) ใช่หรือไม่ใช่?
ทำความเข้าใจกับภาวะตั้งครรภ์ที่ไข่ที่ปฏิสนธิไม่ฝังตัว (Chemical Pregnancy) ใช่หรือไม่ใช่?

การตั้งครรภ์ที่เร็วเกินไปที่จะยืนยันด้วยวิธีการทางชีวเคมี

อ่านเพิ่ม