คุณแม่ 10 กลุ่มเสี่ยงที่ไม่ควรให้นมลูก

เผยแพร่ครั้งแรก 5 ก.พ. 2019 อัปเดตล่าสุด 17 พ.ย. 2020 ตรวจสอบความถูกต้อง 7 มี.ค. 2019 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
คุณแม่ 10 กลุ่มเสี่ยงที่ไม่ควรให้นมลูก

ทำไมเราถึงแม่ที่ให้นมบุตรถึงควรระมัดระวัง?

ปกติแม่ควรให้ลูกดูดนมแม่เพราะนมแม่เป็นอาหารที่ดีที่สุดสำหรับลูก แต่ก็ยังมีบางกรณีที่ไม่สามารถให้ลูกดูดนมแม่ได้เช่น แม่ติดเชื้อ หรือเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ ซึ่งเชื้อโรคอาจปนออกมากับน้ำนมแม่ได้และอาจติดไปถึงลูกค่ะ เชื้อโรคที่พบว่าสามารถติดไปสู่ลูกได้ ได้แก่ เชื้อ เอชไอวี (โรคเอดส์) เชื้อไวรัสชนิดหนึ่งคือ เชื้อเฮอร์ปี่ ซิมเพลก (Herpes Simplex) ซึ่งเกิดที่ผิวหนังบริเวณหัวนมของแม่ เชื้อตับอักเสบบีและซี เป็นต้น นอกจากนี้ยาบางชนิดที่คุณแม่กินเข้าไประหว่างช่วงที่ให้นมลูกอาจจะส่งผลข้างเคียงไปสู่ลูกได้เช่น ยาที่ใช้รักษามะเร็งต่างๆ

คุณแม่ 10 กลุ่มเสี่ยงที่ห้ามให้นมแม่

  1. แม่ที่ติดเชื้อ HIV หรือเชื้อโรคเอดส์
  2. แม่ที่ติดเชื้อเฮอร์ปี่ ซิมเพลก (Herpes Simplex) ต้นเหตุของเริมและงูสวัด
  3. แม่ที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี
  4. แม่ที่อยู่ในช่วงการกินยารักษาโรคมะเร็ง
  5. แม่ที่อยู่ในช่วงการกินยาที่เป็นสารรังสี
  6. แม่ที่อยู่ในช่วงการกินยาที่มีไอโอได หรือสารปรอทเมอร์คอวรี่อยู่ด้วย
  7. แม่ที่อยู่ในช่วงการกินยาทุกชนิดในกลุ่ม เออกอท อัลคาลอยด์ (Ergot Alkaloids)
  8. แม่ที่อยู่ในช่วงการกินยาประเภท อะโทรปีน (Atropine)
  9. แม่ที่อยู่ในช่วงการกินยาฆ่าเชื้อ โดยเฉพาะคลอแรมเฟนิคอล (Chloramphenicol)
  10. แม่ที่อยู่ในช่วงการกินยาอื่นๆ เช่น โบรโมคริบทีน (Bromocriptine) และ ไซโคลสปอริน (Cyclosporin)

โดยสรุปแล้วหากคุณแม่ที่กำลังให้นมลูกจำเป็นต้องทานยาใดๆ จะต้องปรึกษาคุณหมอก่อนจะดีที่สุดค่ะ

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
แนะนำคุณแม่มือใหม่วันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 297 บาท ลดสูงสุด 59%

จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!


2 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
การให้นมลูก ตอนที่ 1, รศ.นพ.ศุภกร โรจนนินทร์ ภาควิชาศัลยศาสตร์ Faculty of Medicine Siriraj Hospital คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, 12 ตุลาคม 2553
Human Milk and Lactation, Updated: Feb 02, 2015, Author: Carol L Wagner, MD; Chief Editor: Ted Rosenkrantz, MD

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

บทความต่อไป
ภาวะถุงน้ำคร่ำอักเสบ (Chorioamnionitis)
ภาวะถุงน้ำคร่ำอักเสบ (Chorioamnionitis)

ภาวะติดเชื้อในมดลูกจัดเป็นภาวะที่รุนแรง

อ่านเพิ่ม
ปั๊มนม เก็บไว้ให้ลูก ดีจริงหรือไม่? รวมคำแนะนำการสต๊อกนม
ปั๊มนม เก็บไว้ให้ลูก ดีจริงหรือไม่? รวมคำแนะนำการสต๊อกนม

ไขข้อสงสัย ทำไมคุณแม่สมัยนี้ชอบปั๊มนมเก็บไว้ให้ลูกกินทีหลัง ควรเก็บอย่างไรให้นมยังมีประโยชน์สูงสุด?

อ่านเพิ่ม