ประโยชน์ของน้ำในร่างกายทั้ง 10 ประการ

เผยแพร่ครั้งแรก 28 มี.ค. 2017 อัปเดตล่าสุด 11 ก.พ. 2020 เวลาอ่านประมาณ 1 นาที
a4.gif น้ำ คือสารอาหารที่สำคัญที่สุดของร่างกาย เพราะว่า 4/5 ส่วนของน้ำหนักตัวก็คือน้ำ มนุษย์สามารถมีชีวิตอยู่ได้หลายสัปดาห์หากขาดอาหารแต่จะอยู่ได้เพียงไม่กี่วันหากขาดน้ำ โดยน้ำทำหน้าที่เป็นตัวทำละลายหลักสำหรับอาหารที่ผ่านกระบวนการย่อยในกระเพาะ แต่ยังไม่มีปริมาณที่ให้ดื่มเฉพาะเจาะจงในแต่ละวัน เพราะการสูญเสียน้ำของแต่ละคนย่อมแตกต่างกันออกไป แต่โดยทั่วไปแล้วการดื่มน้ำประมาณ 8 แก้วต่อวันถือว่าดีต่อสุขภาพ

1. ผิวดูมีน้ำมีนวล : ประโยชน์ของน้ำดื่ม ช่วยให้สุขภาพผิวดูมีน้ำมีนวล เปล่งปลั่งสดใส
2. ไม่ทำให้ผิวแห้งกร้าน : น้ำช่วยป้องกันการเกิดริ้วรอยได้ เพราะช่วยป้องกันไม่ให้ผิวของเราแห้งกร้าน
3. ทำให้ดวงตาสดใส : ช่วยให้ดวงตาของคุณดูสดใส มีชีวิตชีวา
4. ช่วยให้ผิวชุ่มชื้น : ช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นให้แก่ผิว
5. การไหลเวียนของเลือดดีขึ้น : ช่วยเพิ่มการไหลเวียนของโลหิต ปรับสมดุลในร่างกาย
6. ผ่อนคลาย : ช่วยเพิ่มความผ่อนคลาย สบายใจ
7. สมองดี : น้ำช่วยให้สมองทำงานได้ไว และดียิ่งขึ้น
8. ทำให้มีสมาธิ : ช่วยทำให้เกิดสมาธิมากขึ้น ผู้ที่อยู่ในวัยเรียนควรให้ความสำคัญ
9. ชะลอความแก่ : ช่วยชะลอความแก่ ทำให้เซลล์ต่างๆในร่างกายไม่ขาดน้ำ และทำงานได้อย่างเป็นปกติ
10. ช่วยสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี : น้ำสามารถช่วยสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีให้กับผิวหนังของคุณได้ แถมยังป้องกันเชื้อโรคต่างๆที่จะเข้าสู่ร่างกายได้อีกด้วย

แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ
ปรึกษาเภสัช สั่งยา ฟรีค่าส่งทั่วประเทศ*

แชทกับเภสัชกรฟรี! 9 โมงเช้าถึงเที่ยงคืน พร้อมรับส่วนลดค่ายา 5% HDmall ออกค่าส่งให้สูงสุด 40 บาท


2 แหล่งข้อมูล
กองบรรณาธิการ HD มุ่งมั่นตั้งใจให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงเลือกใช้ข้อมูลอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจากสถาบันต่างๆ คุณสามารถอ่านหลักการทำงานของกองบรรณาธิการ HD ได้ที่นี่
15 benefits of drinking water and other water facts. Medical News Today. (https://www.medicalnewstoday.com/articles/290814)
7 Science-Based Health Benefits of Drinking Enough Water. Healthline. (https://www.healthline.com/nutrition/7-health-benefits-of-water)

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนำของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครั้ง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเองจากการอ่านบทความนี้ ทาง HD พยายามอัปเดตข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้องอยู่เสมอ คุณสามารถส่งคำแนะนำได้ที่ https://honestdocs.typeform.com/to/kkohc7

ผู้เขียนและผู้รีวิวบทความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการที่นำเสนอแต่อย่างใด เว้นแต่จะระบุในเนื้อหา การแนะนำสินค้าและบริการแสดงขึ้นอัตโนมัติจากระบบของเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน

ขอบคุณที่อ่านค่ะ คุณคิดว่าบทความนี้มีประโยชน์มากแค่ไหนคะ
(1 ดาว - น้อย / 5 ดาว - มาก)

บทความต่อไป